วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่  9
ประจำวันที่  9  เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558

กิจกรรมก่อนเรียน
  •     เที่ยว ทุ่งหญ้าซาวันน่า 

หากนักศึกษาได้ นั่งรถเที่ยวท่ามกลางทุ่งหญ้าซาวันน่าอย่างมีความสุข แล้วนักศึกษาเกิดเห็นภาพนี้ จะรู้สึกอย่างไร ?




 














ตอบ  รู้สึกว่าเป็นวงจรชีวิต ที่จะต้องมีผู้ล่าและผู้ถูกล่า เป็นธรรมดา

   เฉลย  ความรู้สึของการเห็นภาพนี้ คือ การปลดปล่อยอารมณ์ ที่เราได้ดูหนัง XX ครั้งแรก

ความรู้ที่ได้รับ
   
 การส่งเสริมทักษะต่าง ๆ ของเด็กพิเศษ                  ทักษะภาษา
ตัวอักษรสำหรับเด็กปฐมวัย  ต้องเขียนตัวกลม หัวเหลี่ยม เนื่องจาก ฝึกกล้ามเนื้อมือ

การวัดความสามาถทางภาษา
  • เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
  • ตอบเสนองเมื่อมีคนพูดดด้วยไหม
  • ถามหาสิ่งต่าง ๆ ไหม
  • บอกเล่าเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นไหม
  • ใช้คำศัพท์ของตนเองกับผู้อื่นไหม
** ศัพท์แปลก ๆ หรือ หารแสดงท่าทาง

การออกเสียงผิด / พูดไม่ชัด
        เด็กพิเศา เหมือน เด็กอนุบาลทุกคน
  • การพูดตกหล่น
  • การพูดเสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
  • พูดติดอ่าง
** เด็กวัยอนุบาลใช้ภาษาได้ไม่สมบูรณ์แบบ
     เด็กวัยอนุบาลอวัยวะในการออกเสียงไม่แข็งแรง
     มีแบบวัดภาษาของเด็กปฐมวัย

การปฏิบัติของครูกับผู้ใหญ่
  • ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
  • ห้ามบอกเด็กว่า  พูดช้า ๆ / ตามสบาย / คิดก่อนพูด   ( สำคัญ ห้ามเด็ดขาด )
  • อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
  • ไม่เปลี่ยนมือข้างที่ถนัดของเด็ก
  • ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
  • เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน  ควรสังเกตเด็กบ่อย ๆ
ทักษะพื้นฐานทางภาษา
  • ทักษะการรับรู้ภาษา
  • การแสดงออกทางภาษา
** เด็กพิเศษชอบสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูด  อาจจะเป็นการแสดงท่าท่าง  เสียง 

ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
  • การรับรู้ภาษามาก่อนการแสดงออกทางภาษา  ฟัง  พูด  อ่าน  เขียน   ตามลำดับ
  • ให้เวลาเด็กได้พูด
  • คอยให้เด็กตอบ  ( บอกบท )
  • เป็นผู้ฟังที่ดีและตอบโต้อย่างฉับไว ( ครูไม่พูดมากเกินไป )
  • เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาเพียงการฟังอย่างเดียว  (ภาษาธรรมชาติ )
  • ให้เด็กได้ทำกิจกรรมกลุ่ม
  • กระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตนเอง  โดยที่ครูไม่คาดการณ์ล่วงหน้า
  • เน้นวิธีการสื่อความหมายแทนการพูด
  • ใช้คำถามปลายเปิด
  • เด็กพิเศารู้มากเท่าไร ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
  • ครูทำกิจกรรมร่วมกับเด็ก
การสอนตามเหตุการณ์  ( Incidental Teaching )


 
 
ตัวอย่างเช่น
 
    น้องเป็นดาว์วินโดรม สวมผ้ากันเปื่อนพยายามมัดเชือกที่เอว  น้องต้องการให้ช่วย ผู้เชือกที่เอวให้ ( ครูรู้ว่าเด็กต้องการความช่วยเหลือ )
หน้าที่ครู  คือ  เข้าไปใกล้ ๆ เด็กก็พอ เพื่อให้เด็กขอร้องให้ช่วย  โดยที่ครูไม่คาดเดาเหตุการณ์ล่วงหน้า
ครูต้อง  ** บอกบท
ครูพูด  ไหนหนูผูกผ้ากันเปื้อนใช่ไหมค่ะ 
            พูดตามครูสิค่ะ  ผ้ากันเปื้อน  พูดซ้ำไปเรื่อย ๆ ผ้ากันเปื้อน
ครูตัดสินใจ คือ จะผูกให้ก็ต่อเมื่อ น้องพูดคำว่า ผ้ากันเปื้อน    แต่ถ้าหากน้องไม่พูดจริง ๆ ก็ผูกให้ไปเถอะ แต่ครูจะต้องพูดทุกครั้งที่ ทำการผูกผ้ากันเปื้อน  
**แล้วสักวันน้องจะพูดคำว่า ผ้ากันเปื้อน ได้เองสักวัน
 
กิจกรรมบำบัด  เด็กพิเศษ
    คำสั่ง
  • จับคู่ 2 คน
  • เปิดเพลงให้ฟัง
  • ลากเส้นไปพร้อม ๆ กับการฟังเพลง
  • ลากเส้นไปพร้อม ๆ กันทั้ง 2 คน  ให้เป็นเส้นตรงเท่านั้น  และห้ามยกสีขึ้น จนกว่าเพลงจะหยุด
  • ปล่อยให้เด็กทำกิจกรรมจนเสร็จ  โดยที่มีบรรยากาศที่เงียบสงบ
  • จากนั้นดูภาพที่เป็น ช่องสามเหลี่ยม  ช่องสีเหลี่ยม แล้วระบายสีทุกช่อง 1 ช่อง 1 สี
 
 
 
 

 

 

 

 
 
ข้อดีในการทำกิจกรรม
  1. ฝึกสมาธิ  และ ได้ปลดปล่อยอารมณ์
  2. มิติสัมพันธ์
  3. ได้ส่งเสริมทักษะทางสังคม / ภาษา
** เด็กออสทิติก นิยมใช้การบำบัดวิธีนี้   และครูสามารถดูสภาพจิตใจของเด็กแต่ละคน จากการลากเส้น การใช้สีต่าง ๆ ในการระบายแต่ละช่อง
 
การนำไปใช้
  1. สามารถนำไปใช้ในการบำบัดได้ทั้งเด็กพิเศษ และเด็กปกติ
  2. สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กในห้องเรียนร่มได้ และร่มถึงการทำความเข้าใจให้ลึกซึ่งได้
 
ประเมิน
 
          ตนเอง    เข้าเรียนตรงเวลา   สนใจเรียน + กิจกรรมอย่างเต็มที่  สนุกสนานมีความสุขในการเรียน แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
 
          เพื่อน   เข้าเรียนตรงต่อเวลา  ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม + กรเรียน  แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
 
         อาจารย์    เข้าสอนตรงต่อเวลา  สอนได้ชัดเจนมีการยกตัวอย่างประกอบเสมอ แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
 
 
 
     


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น