วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558

 
บันทึกอนุทิน
ครั้งที่  5
ประจำวันที่  9  กุมภาพันธ์  2558


กิจกรรมก่อนเรียน
      อาจารย์แจกอุปกรณ์ คือ  ถุงมือ แล้วใส่ข้างที่ไม่ถนัด  จากนั้นแจกกระดาษให้ 1 แผ่น  แล้วให้วาดรูปมือตามจิตนาการ ดูว่าเราจะจำมือที่ตนเองเห็น สัมผัส ทุกวัน อยู่ติดกับตัวเราตลอด  24  ชั่วโมง ได้หรือไม่

     จากนั้นเมื่อวาดเสร็จให้ถอดถุงมือและดูว่าเหมือนหรือไม่   และให้วาดมือของตนเองลงในกระดาษอีกครึ่ง โดยครั้งนี้ให้เรามองเห็นมือของตนเอง  วาดให้ออกมาเหมือนที่สุด






การสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ



          ทักษะของครูและทัศนคติ      ต้องมีการปรับทัศนคติของตนเองซะก่อน   ให้มองเด้กพิเสษเหมือนเด็กคนหนึ่งทั่วไปในห้อง มองให้เหมือนเด็กปกติ   **ห้ามมองเด้กแบ่งแยก
           
 การฝึกเพิ่มเติม
  • การอบรมระยะสั้น   สัมมนา   ทางโรงเรียนมีการจัดให้  ( ไม่ต้องกังวล )
  • สื่อต่าง ๆ   อินเทอร์เน็ตีคำตอบ  หนังสือเด็กพิเศษ  แต่อ่านแล้วต้องกรอง ว่าสิ่งใดเป็นเท็จเป็นจริง ต้องดูให้เหมาะสมกับเด็กของเรา
การเข้าใจภาวะปกติ
  • เด็กมักคล้ายกันมากกว่าต่างกัน   โดยเฉพาะพัฒนาการ    เด็กออทิสติก  พฤติกรรมที่ดี  พัฒนาการที่ดีจะมาจาก การเชื่อใจครู
  • ครูต้องเรียนรู้และมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กพิเศษและเด็กปกติ     เพื่อความเข้าใจเด็กโดยการ พูดคุย สนทนา ทักทาย ช่วยเหลือ และการทำกิจกรรมร่วมกัน
  • มองเด้ให้เป็น  " เด็ก "    เด็กแต่ละคนต่างกัน   ต้องจำชื่อเด็กให้ได้ทุกคนทั้งชื่อเล่นและชื่อจริง
การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า
  • การเข้าใจพัฒนาการเด็ก จะช่วยให้สามารถมองเห็นควางแตกต่างของเด็กแต่ล่ะคนได้งาย
  • คุยเรื่องเด็ก พยายามคุยแต่เรื่องดี ๆ จดจำภาพลักษณ์ที่ดี
  • รู้อาการของเด็กเก็บไว้กับตัว  ปล. อย่าไว้ใจครูข้างห้อง
ความพร้อมของเด็ก
  • วุฒิภาวะ
  • แรงจูงใจ
  • โอกาส
** เด็กในห้องมีความพร้อมที่ใกล้เคียงกัน แต่ต่างกันที่แรงจูงใจ  ครูมีหน้าที่สร้างแรงจูงใจให้เด็ก

การสอนโดยบังเอิญ
  • ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
  • เด็กเข้าหาครูมากเท่าไรยิงมีโอกาสสอนมากเท่านั้น
  • เด็กพิเศษจะสนใจในการเรียน เมื่อสอนตัวต่อตัว
  • หลักสำคัญของครูห้องเรียนรวมคือ  ใจเย็น
  • เด็กจะวิ่งเข้ามาหาเมื่อมีปัญหา
  • การเชื่อมโยงสิ่งที่ทำอยู่  คือ เมื่อเกิดปัญหาแลัว ควรสอนจากปัญหา
  • ครูตั้องพร้อมที่จะพบเด็ก
  • ครูต้องสนใจเด็ก
  • ต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก
  • ต้องมีอุปกรณ์และกิจกรรมล่อใจเด็ก   ในกรณ๊ที่อุปกรณืไม่เพียงพอ การแบ่งโต๊ะในการทำกิจกรรม  มีหลาย ๆ กิจกรรมจะช่วยได้
  • ต้องตั้งใจจริงที่จะทำให้เด็กเกิดความรู้
  • ครูต้องไม่ใช้เวลานานในการติดต่อกับเด็ก
  • ครูต้องทำให้เป็นเรื่องสนุกสนาน
อุปกรณ์
  • สิ่งที่จะดึกความสนใจของเด็กมาก
  • มีลักษณะง่าย ๆ
  • ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
  • เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบเด็กปกติ
  • เด็กปกติเรียนรู้ที่จะช่วยเหลื่อเด็กพิเศษ
  • สื่อ อุปกรณ์ จะต้องไม่มีวิธีการเล่นที่ตายตัว  เช่น  บล็อก
  • สื่อต้องไม่แยกเพศ
ตารางประจำวัน
  • เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยู่เป็นประจำ
  • กิจกรรมที่ดีสำหรับเด็กพิเศษจะต้องคาดเดาได้
  • จะทำให้เด้กรู้สึกปลอดภัยและมั่นใจ
  • คำนึกถึงความเหมาะสมแก่เวลา
ทัศนคติของครู


ความยืดหยุน
  • การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
  • ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
  • ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็กแต่ละคน
การใช้สหวิทยาการ   ( การรับฟังผู้อื่น )
  • ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่น ๆ
  • สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกับกิจกรรมในห้องเรียน
  • ควรมีการแทรกการบำบัด  เช่น  การร้องเพลง  ดนตรี
การเปลี่ยนพฤติกรรมและการเรียนรู้
     เด็กทุกคนสอนได้
  • เด็กเรียนไม่ได้เพราะไร้ความสามารถ
  • เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาส
  • เด็กทุกคนมีความสามรถอยู่ในตนเอง    ครูสำคัญมากในการมอบ  โอกาส
เทคนิคการให้แรงเสริม


 
 
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
 ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กสำคัญมาก
มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็ก และมักจะเห็นผลในทันที
หากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมที่ดีนั้น ๆ ก็จะลดลงและหายไปวิธีการใหแรงเสริมจากผู้ใหญ่
 
วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมจากผู้ใหญ่
  • ตอบสนองด้วยวาจา
  • การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
  • พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง
  • สัมผัสทางกาย
  • ให้ความช่วยเหลือ  ร่วมกิจกรรมกับเด็ก
หลักการให้แรงเสริมเด็กปฐมวัย
  • ครูต้องให้แรงเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์
  • ครูต้องละเว้นความสนใจทุกครั้งที่เด็กทำพฤติกกรมที่ไม่พึงประสงค์
  • ครูให้ความสนใจเด็กนานเท่าที่เด็กมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
การแนะนำหรือบอกบท  ( Prompting )
  • ย่อยงาน
  • ลำดับความยาก ง่ายของงาน
  • การลำดับงานเป็นการเสริมแรงเพื่อให้เด็กค่อย ๆ ก้าวไปสู่ความสำเร็จ
  • การบอกบทจะค่อย ๆ น้องลงตามลำดับ
ขั้นตอนการให้แรงเสริม
  • สังเกตและกำหนดจุดมุ่งหมาย
  • วิเคราะห์งาน  กำหนดจุดประสงค์ย่อย ๆ ในแต่ละชิ้น
  • สอนจากง่าย ไป ยาก
  • ให้แรงเสริมทันทีที่เด็กทำได้ หรือ เมื่อ เด็กพยายามอย่างเหมาะสม
  • ลดการบอกบท เมื่อเด็กเรียนรู้ที่จะก้าวไปขั้นต่อไป
  • ให้แรงเสริมเฉพาะพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด
  • ทีละขั้นไม่เร่งรัด ยิ่งชิ้นเล็กเท่าไร ยิ่งดีเท่านั้น
  • ไม่ดุหรือตี
กำหนดเวลา
  • จำนวนและความถี่ของแรงเสริมที่ให้กับพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กต้องมีความสุข
ความต่อเนื่อง
  • การเข้าห้องน้ำ
  • การนอนพักผ่อน
  • การหยิบ  หรือ  เก็บของ
  • การกลับบ้าน
เด็กตักซุป
 
 
  • การจับช้อน
  • การตัก
  • การระวังไม่ให้น้ำในช้อนหกก่อนจะเข้าปาก
  • การเอาช้อนและซุปเข้าปากแทนที่จะทำให้หดรดคาง
  • การเอาซุปออกจากช้อนเข้าปาก
การลดหรือหยุดแรงเสริม
  • ครูจะงดแรงเสริมกับเด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
  • ทำอย่างอื่นและไม่สนใจเด็ก
  • เอาอุปกรณ์ หรือ ของเล่นออกไปจากเด็ก
  • เอาเด็กออกจากของเล่น
 

 การนำไปประยุกต์ใช้ Applications
 
1.   สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนทัศนคติของตนเองที่สมีต่อเด้กพิเศษได้
 
2.   ทราบถึงการบอกบท และพร้อมที่จะนำไปใช้กับเด็กได้
 
3.   สามารถนำไปใช้กับเด็กพิเศษเมื่อเจอหรืออยู่ในสถานการณ์จริงได้
 
 
การประเมิน Assessment.
 
      ตนเอง   ตั้งใจเรียนดี  แต่งการสุภาพเรียบร้อย  เข้าเรียนตรงเวลา 
   
      เพื่อน   มีความสนใจเรียน  และทำกิจกรรมอย่างเต็มที่  แต่งกายสุภาพเรียบร้อย  เข้าเรียนตรงเวลา
 
    อาจารย์   สอนสนุกสนาน มีสาระ  พร้อมยกตัวอย่างประกอบในเนื้อหาที่เรียน  แต่งกายสุภาเรียบร้อยเหมาะสม  เข้าสอนตรงเวลา
 
 
 
 
 
 
     
     
     
 
     
 
 
  
 
 
 

 
 
 
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น